https://www.tiktok.com/@ajfoamm
คอร์ส AutoCAD 2D สำหรับผู้เริ่มต้นทำงาน โดย อาจารย์โฟม
คอร์สเรียนที่เหมาะเป็นอย่างยิ่งสำหรับมือใม่ หรือมือเก่าที่ยังไม่ค่อยแน่ใจ เดินหน้ายาก ถอยหลังก็ไม่ได้ อยากไปต่อด้วยความมั่นคง ทะยานไปสู่ความเป็นมืออาชีพ ผมเตรียมทุกทักษะที่มือใหม่ต้องรู้ ต้องทำได้ ก่อนจะไปต่อ ไม่ว่าจะเป็น เรียน AutoCAD เพื่องานเขียนแบบก่อสร้าง เรียนออนไลน์ และ คอร์ส AutoCAD เพื่องานเขียนแบบเครื่องกล เรียนออนไลน์ เรียนจริง
1.แนะนำโปรแกรม AutoCAD 1.1 แนะนำโปรแกรมและส่วนต่างๆของจอภาพ 1.2 Open and Save
2.การตั้งค่าหน่วยวัด 2.1 การตั้งค่าหน่วยวัดของงาน (Drawing Units)
3.การปรับการแสดงผลของพื้นหลังของจอภาพ 3.1 การเปิด-ปิดกริดและสีพื้นหลัง (On Off Grid and change uniform background color)
4.การปรับตั้งพื้นฐานที่งาน (Workspace setting) 4.1 Workspace setting การเรียก Menu bar มาใช้งาน 4.2 Workspace setting การเปิด-ปิด View cube และ Navigation bar 4.3 Workspace setting การปรับแต่ง เปิด-ปิด Command line 4.4 Workspace setting การเปิดใช้ Drawing Coordinates 4.5 Workspace setting การปรับแต่ง Cross hair 4.6 การทำ Reset Setting to default
5.ทำความเข้าใจกับเครื่องมืออ๊อพเจ็คสแน็พ (Object snap) 5.1 เอ็นพ้อยท์ (End point) 5.2 มิดพ้อยท์ (Mid point) 5.3 เซ็นเตอร์ (Center) 5.4 จีออเมตริก เซ็นเตอร์ (Geometric Center) 5.5 โหนด (Node) 5.6 คว็อดแรนท์ ( Quadrant) 5.7 อินเตอร์เซ็คชั่น (Intersection) 5.8 เอ็กซ์เทนชั่น (Extension) 5.9 อินเซิร์ทชั่น (Insertion) 5.10 เพอเพ็นดิคิวลา (Perpendicular) 5.11 แทนเจ็นท์ (Tangent) 5.12 เนียเรส (Nearest) 5.13 แอ็พพาเรนท์ อินเตอร์เซ็คชั่น (Apparent Intersection) 5.14 พาราเลล (Parallel)
6.จุดเกาะเกี่ยวกันของวัตถุ (Grip point ) 6.1 ลักษณะทัวไปและการใช้งานกริปพ้อยท์ (Grip point)
7.Coordinate system 7.1 ระบบสัมบูรณ์ (Absolute Coordinate system) 7.2 ระบบสัมพัทธ์ (Reltive system) 7.3 ระบบสัมพัทธ์เชิงขั้ว (Relative Polar system Practice)
8.สร้างประสบการณ์การใช้ AutoCAD โดยการทำโจทย์ตัวอย่าง 8.1 EX1 การประยุกต์ใช้ระบบควบคุมการออกคำสั่งร่วมกันกับการล็อกแกนด้วย F8 และ การใช้ OTRACK 8.2 Ex2 การหาจุดตัดของ 2 แนว 8.3 Ex3 การลากเส้นโดยบังคับมุม 8.4 Ex4 เทคนิการตรวจสอบระยะและมุมด้วยคำสั่ง DIstance 8.5 Ex5 เทคนิการตรวจสอบด้วยคำสั่ง Identify 8.6 Ex6 เทคนิการตรวจสอบพื้นที่ด้วยคำสั่ง AREA 8.7 Ex7 การวาดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากด้วยคำสั่ง RECtang 8.8 Ex8 การใช้คำสั่ง Move 8.9 Ex9 ทำโจทย์ตัวอย่าง RECtang และ การตรวจสอบ 8.10 Ex10 ทำโจทย์ตัวอย่างการวาดด้วย RECtang แล้วคัดลอกวางเป้นขั้นๆ 8.11 Ex11 ทำโจทย์ตัวอย่างการวาดวงกลมแบบ Center Radius Center Diameter
9.การใช้คำสั่งและทดลองทำตัวอย่างเพื่อเข้าใจคำสั่งอย่างลึกซึ้ง 9.1 คำสั่ง RECtang 9.2 การย้ายวัตถุด้วยคำสั่ง Move 9.3 คำสั่ง COpy 9.4A คำสั่งเขียนวงกลม Center Radius 9.4B คำสั่ง เขียนวงกลม Circle Center Diameter 9.4C คำสั่งเขียนวงกลม Circle 2Point 9.4D คำสั่งเขียนวงกลม Circle 3Point 9.4E คำสั่งเขียนวงกลม Circle Tan Tan Radius 9.4F คำสั่งเขียนวงกลม Circle Tan Tan Tan 9.5 คำสั่ง TRim 9.6 คำสั่ง Offset 9.7 คำสั่ง EXtend 9.8 คำสั่ง ROtate 9.8A ROtate ครั้งละ 90องศา 9.8B ROtate (Reference Angle) หมุนแบบอ้างอิงมุม 9.9 คำสั่ง Join 9.10 คำสั่ง Explode 9.11 คำสั่ง Hatch 9.12 การสร้างเลเยอร์ (Layer Creation) 9.13A การกำหนเขนาดแบบลิเนียร์ (DIM Linear) 9.13B DIM Aligned 9.13C DIM Angular 9.13D DIM Arc Length 9.13E DIM Radius 9.13F DIM Diameter 9.13G DIM Jogged 9.13H DIM Ordinate 9.13I DIM Continue Linear Dimension 9.13J Base Line Dimension Left to Right 9.13K Base Line Dimension Right to Left 9.13L Base Line Dimension Aligned
10.ทำแบบฝึกหัดเพื่อเรียนรู้การเชื่อมโยงคำสั่งให้เป็นงาน 10.1 แบบฝึกหัดที่ 1 Rectangular Plate วิธีที่ 1 10.2 แบบฝึกหัดที่ 1 Rectangular Plate วิธีที่ 2 10.3 แบบฝึกหัดที่ 2 Gasket วิธีที่ 1 10.4 แบบฝึกหัดที่ 2 Gasket วิธีที่ 2 10.5 แบบฝึกหัดที่ 3 วิธีที่ 1 ใช้คำสั่ง Line Offset EXtend TRim 10.6 แบบฝึกหัดที่ 3 วิธีที่ 2 ใช้คำสั่ง Line Join Offset Stretch 10.7 แบบฝึกหัดที่ 3 วิธีที่ 3 ใช้คำสั่ง Polyline Offset Stretch 10.8 แบบฝึกหัดที่ 4 วิธีที่ 1 10.9 แบบฝึกหัดที่ 4 วิธีที่ 2 10.11 แบบฝึกหัดพิเศษข้อที่ 1 10.11 การย่อขยายวัตถุ ปรับแนววัตถุ ด้วยคำสั่ง SCale และ Align 11.แบบฝึกหัดพิเศษจากห้องเรียน 11.1 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน ข้อที่ 1 คลิปที่ 1 11.2 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน ข้อที่ 1 คลิปที่ 2 11.3 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน สร้างกรอบแบบ 11.4 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน สร้างไตเติ้ลบล็อค Title block 11.5 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน การพิมพ์ข้อความใน AutoCAD 11.6 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน การจัดการกรอบแบบด้วยการสร้างบล็อก 11.7 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน ทำแบบฝึกหัดข้อที่ 4 11.8 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน การปรับเครื่องหมายคอมม่า เป็น จุดทศนิยม 11.9 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน ทำแบบฝึกหัดข้อที่ 5 11.10 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน แบบฝึกห้อข้อ 5 การใส่เครื่องหมาย Center mark ของ 11.11 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน แบบฝึกห้อข้อ 5 การกำหนดขนาดลงในแบบ 11.12 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน แบบฝึกห้อข้อ 6 วิธีที่ 1 ใช้วงกลม 11.13 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน แบบฝึกห้อข้อ 6 วิธีที่ 2 ใช้ส่วนโค้งในการวาด 11.14 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน แบบฝึกห้อข้อ 7 ใช้ TTR 11.15 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน แบบฝึกห้อข้อ 8 11.16 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน แบบฝึกห้อข้อ 9 การใช้ Quick properties และ วงกลมแบบ Tan Tan Tan 11.17 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน แบบฝึกห้อข้อ 12 Slotted arm 11.18 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน แบบฝึกห้อข้อ 12 Slotted arm กำหนดขนาด 11.19 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน แบบฝึกห้อข้อ 13 ทำความเข้าใจกับ วงรี 11.20 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน แบบฝึกห้อข้อ 13 เขียน Handle 11.21 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน แบบฝึกห้อข้อ 13 กำหนดขนาด Handle 11.22 บทเรียนพิเศษจากห้องเรียน การปริ้นท์แบบ